Power Supply ที่อยู่ในสภาพไม่พร้อมใช้งาน จะเป็นสาเหตุให้อุปกรณ์อื่นๆในคอมพิวเตอร์เสียหายได้ โดยเฉพาะ Harddisk ดังนั้นการหมั่นตรวจสอบสภาพของ Power Supply อยู่เสมอ จะช่วยรักษาคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในสภาพใช้งานได้นานเท่าที่เราต้องการได้ ถ้าพบว่า Power Supply เสียหายควรซ่อมแซมหรือเปลี่ยนตัวใหม่ ก่อนที่จะสายเกินไป
Power Supply มี 2 แบบ
แบบที่ 1. แบบ Linear มีหม้อแปลงใหญ่ขนาดใหญ่ ตัดวงจรโดย Fuse
แบบที่ 2. แบบ Switching มี Transistor ทำหน้าที่ตัดวงจร
2.1 แบบ XT มีขนาดใหญ่ มีหัวเดียว 12 เส้น มี Switch ปิด-เปิดอยู่ด้านหลัง Power Supply
2.2 แบบ AT เล็กกว่า XT มีหัวเสียบ 2 หัว คือ P8 , P9 มีสวิทช์ปิด-เปิดโยงจาก Power Supply มายังหน้า Case ราคาประมาณ 450-550 บาท(ตกประมาณวัตต์ละ 1 บาท)
2.3 แบบ ATX มีหัวเสียบเดียว 20 เส้น ไม่มี Switch ปิด-เปิด เมื่อสั่ง Shut Down จาก Program เครื่องจะปิดเองโดยอัติโนมัติ (ราคาประมาณ 600-800 บาท)
Power Supply มี 2 แบบ
แบบที่ 1. แบบ Linear มีหม้อแปลงใหญ่ขนาดใหญ่ ตัดวงจรโดย Fuse
แบบที่ 2. แบบ Switching มี Transistor ทำหน้าที่ตัดวงจร
2.1 แบบ XT มีขนาดใหญ่ มีหัวเดียว 12 เส้น มี Switch ปิด-เปิดอยู่ด้านหลัง Power Supply
2.2 แบบ AT เล็กกว่า XT มีหัวเสียบ 2 หัว คือ P8 , P9 มีสวิทช์ปิด-เปิดโยงจาก Power Supply มายังหน้า Case ราคาประมาณ 450-550 บาท(ตกประมาณวัตต์ละ 1 บาท)
2.3 แบบ ATX มีหัวเสียบเดียว 20 เส้น ไม่มี Switch ปิด-เปิด เมื่อสั่ง Shut Down จาก Program เครื่องจะปิดเองโดยอัติโนมัติ (ราคาประมาณ 600-800 บาท)
ถ้าต้องการตรวจสอบการใช้งานในขณะที่ไม่ได้ต่อกับ Mainboard ให้ Jump สายสีเทา (หรือสีเขียว) กับสีดำ พัดลมของ Power Supply จะหมุน แสดงว่าใช้งานได้
การใช้มิเตอร์วัดไฟ Power Supply
ดำ + ดำ = 0 V
ดำ + แดง = 5 V
ดำ + ขาว = -5 V
ดำ + น้ำเงิน = -12 V
ดำ + ส้ม = 5 V
ดำ + เหลือง = 3.3 V
ดำ + น้ำตาล = 12
ตรวจสอบก่อนส่งซ่อมดำ + ดำ = 0 V
ดำ + แดง = 5 V
ดำ + ขาว = -5 V
ดำ + น้ำเงิน = -12 V
ดำ + ส้ม = 5 V
ดำ + เหลือง = 3.3 V
ดำ + น้ำตาล = 12
แต่ก่อนที่จะสรุปว่า เพาเวอร์ซัพพลาย เสีย ควรตรวจสอบด้วยตนเองก่อนที่จะเสียค่าโง่ ดังต่อไปนี้
สายเพาเวอร์เสียบกับ คอมพิวเตอร์ และเสียบปลั้กไฟแน่นหรือไม่
ปลั้กไฟมีไฟเข้าหรือไม่
สวิชต์ของ เพาเวอร์ซัพพลาย ปิดอยู่หรือไม่ ( ดูที่ 0 คือปิด 1 คือเปิด )
เปิดติดแต่ไม่บูต หมายถึงเปิดแล้ว พัดลมของ เพาเวอร์ซัพพลาย หมุน แต่เครื่องไม่บูต เป็นไปได้ว่า เพาเวอร์ซัพพลาย ไม่สามารถจ่ายไฟให้คอมพิวเตอร์ หรือจ่ายไฟได้ไม่พอ กรณีนี้ เพาเวอร์ซัพพลาย อาจจะไม่เสีย แต่จ่ายไฟได้ไม่พอกับกำลังที่คอมพิวเตอร์ต้องการ (ควรเปลี่ยน Power Supply ใหม่)
เครื่องดับเองบ่อย ๆ
ลองเช็คดูว่าพัดลม เพาเวอร์ซัพพลาย ยังหมุนดีอยู่หรือไม่ เพาเวอร์ซัพพลาย อาจจะร้อนเกินไป ให้ดูว่าการเซ็ตค่า BIOS เกี่ยวกับ Power ถูกต้องหรือไม่
เพาเวอร์ซัพพลาย เสีย เพาเวอร์ซัพพลาย มีเสียงดัง พัดลมอาจกำลังจะเสีย ต้องส่งซ่อม หรือเปลี่ยน เพาเวอร์ซัพพลายใหม่ทั้งลูก
อุปกรณ์บางตัวในคอมพิวเตอร์ไม่ทำงาน
อุปกรณ์บางตัวไม่ทำงาน เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอม การ์ดจอ ไม่ทำงาน สาเหตุอาจเกิดจาก เพาเวอร์ซัพพลาย ไม่จ่ายไฟให้อุปกรณ์เหล่านั้นก็ได้ ตรวจสอบให้แน่นอนเสียก่อนก่อน อุปกรณ์อาจไม่เสีย แต่ที่เสียคือ เพาเวอร์ซัพพลายเป็นสาเหตุหลักอันดับแรกที่ควรตรวจสอบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น