วันเสาร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2555

VNC พร้อมวิธี install & setup

VNC ย่อมาจาก Virtual Network Computing ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ประเภท Client/Server ที่อนุญาตให้คุณสามารถเข้าถึง
เครือข่ายจากระยะไกลไปยังหน้าจอแบบกราฟิกโหมดของคุณ และด้วยการใช้ VNC นี้ คุณจะสามารถเข้าถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณจาก ที่ใดก็ได้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต, โมเด็ม หรือเน็ตเวิร์คภายในองค์กร ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อ

Step 1: ไป download โปรแกรมมาที่ http://www.realvnc.com/products/free/4.1/download.html

Step 2: ติดตั้ง VNC Server application on the target machine
Locate the downloaded executable on your machine and run it.



เลือก Next



Click to accept the agreement (if you don't, the installation will fail) and click Next.



เลือกตำแหน่งที่จะติดตั้งโปรแกรม, แล้ว click Next.



เลือกโปรแกรมติดตั้ง VNC Server. Click Next.



Here you can choose to rename the default folder where the program icons will reside then click Next.



ถ้าต้องการให้รันเป็น server ของ windows ก็กดเลือก แล้ว Click Next.



รีวิวค่าต่างๆ ที่เราเลือก ถ้าถูกต้องแล้ว click Install to begin the process.



Click Next.



ติดตั้ง VNC Server เรียบร้อยแล้ว Click Finish ออกไปเลย




Step 3: กำหนดค่า VNC Server

การเข้าโปรแกรมไปที่  Start --> All Programs --> Real VNC --> VNC Server เลือก "Configure VNC Service" เพื่อกำหนดรหัสผ่าน



ไปที่  Authentication tab, แล้วเลือก the VNC Password Authentication option, and click Configure. ให้ใส่ password เหมือนกัน 2 ครั้งแล้วกด OK





Step 4: Start the VNC Server.
ทำการสร้าง VNC Server Sivice
ไปที่ Real VNC Server folder (Start --> All Programs --> Real VNC --> VNC Server and click on the following: "Register VNC Service" followed by "Start VNC Service." ครั้งต่อไปเมื่อเราเปิดเครื่อง มันก็จะ run อัตโนมัติ


เมื่อตัว server รันแล้ว, เราจะเห็นไอคอน VNC เล็กๆ อยู่ใน system tray.



Step 5: เป็นการกำหนดค่าในการดูผ่านเน็ต
           1. ทำการ forward port ที่ router เช่นมีเครื่องลูกในวงแลนดังนี้
           router ip : 124.124.125.125
           a 192.168.1.100      b 192.168.1.101  c 192.168.1.102  d 192.168.1.103
           เครื่อง a  เปิดพอร์ท 5800 5900  b 5801 5901  c 5802 5902  d 5803  5903
         ถ้าอยากดูเครื่อง a ก็ใส่ค่าแบบนี้ใน viewer  124.124.125.125:5900 มันก็จะิวิ่งไปเครื่อง a
ปัญหาอีกอย่างของ router ซึ่งไม่ได้ ip จริง ซึ่งมันจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ ดังนั้นเราก็ต้องไปใช้บริการพวก DDNS
เช่น No-ip  dyndns etc.

          2. ส่วนการดูผ่านแลนก็ใส่ เบอร์ ip and password ได้เลย



บทความจาก วีซ่าส์
credit : http://www.d-sign8.com/

1 ความคิดเห็น: